วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์แบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3214)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
ครั้งที่ 5 วันที่ 16  กุมภาพันธ์ 2558
เวลาเข้าสอน 12.20 น. เวลาเข้าเรียน 12.20 น. เวลาเลิกเรียน 15.50 น.


วันนี้หนูป่วยหนูไม่ได้ไปเรียน
 

วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์แบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3214)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
ครั้งที่ 4 วันที่ 9  กุมภาพันธ์ 2558
เวลาเข้าสอน 12.20 น. เวลาเข้าเรียน 12.20 น. เวลาเลิกเรียน 15.50 น.

วันนี้เนื่องจากหนูเข้าเรียนสาย20นาที เนื่องจากหนูไม่สบายและท้องเสีย แต่หนูก็ไปเรียนเห็นเพื่อนๆบอกว่าอาจารย์พูดถึงเรื่องใส่เสื้อสีให้ฟังพอหนูได้ไปเรียนอาจารย์ก็แจกกระดาษA4ให้คนละแผ่น และถุงมือคนละ1อัน

กระดาษ A4 ( Paper )




ถุงมือ ( Glove )




แล้วอาจารย์ก็ให้ส่วมถุงมือข้างที่ไม่ถนัด แล้วให้วาดรูปมือของตัวเองข้างที่ปิดอยู่ว่าเราจะวาดออกมาได้เหมือนหรือป่าว


ภาพแรกตอนที่มีถุงมือปิด ( Before )





ภาพจริง  ( After )






แล้ววันอาจารย์ก็สอนเรื่อง

การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ

ทักษะของครูและทัศนคติ

การฝึกเพิ่มเติม
     - อบรมระยะสั้น สัมนา
     - สื่อต่างๆ

การเข้าใจภาวะปกติ
     - เด็กมักคล้ายคลึกกันมากกว่าแตกต่าง
     - ครูต้องเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
     - รู้จักเด็กแต่ละคน
     - มองเด็กให้เป็นเด็ก

การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
     - การเข้าใจพัฒนาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย

ความพร้อมของเด็ก
     - วุฒิภาวะ
     - แรงจูงใจ
     - โอกาศ

การสอนโดยบังเอิญ
     - ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
     - เด็กเข้าหาครูมากเท่าไหร่ ยิ่งมีโอกาศการสอนมากเท่านั้น
     
อุปกรณ์
     - มีลักษณะง่ายๆ
     - ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
     - เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกต และเลียนแบบเด็กปกติ
     - เด็กปกติเรียนรู้ที่จะให้ความช่วยเหลือเด็กพิเศษ

ตารางประจำวัน
     - เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลื่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่ประจำ
     - กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและต้องทำนายได้
     - เด็กจะรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
     - การสลับกิจกรรมที่อยู่เงียบๆกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากๆ
     - คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา

ทัศนคติของครู

ความยืดหยุ่น
     - การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
     - ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
     - ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน

การใช้สหวิทยาการ
     - ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
     - สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน ( Class Room )

การเปลื่ยนพฤติกรรมและการเรียนรู้

เด็กทุกคนสอนได้
     - เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
     - เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาศ เราควรใช้คำพูดคำนี้ที่ถูกต้องที่สุด

เทคนิคการให้แรงเสริม 
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
     - ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
     - มีแนวโน้มที่จะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีต่อเด็ก และมักเป็นผลในทันที
     - หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้นๆก็จะลดลงและหายไป

วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่
     - ตอบสนองด้วยวาจา





     - การยืนหรือนั้งใกล้เด็ก




     - พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง



     - สัมผัสทางกาย
     - ให้ความช่วยเหลือ ร่วมกิจกรรมกับเด็ก

หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
     - ครูต้องให้แรงเสริมทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
     - ครูต้องละเว้นความสนใจทันที และทุกครั้งที่เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์

การแนะนำหรือบอกบท ( Prompting )
     - ย่อยงาน
     - ลำดับความยากง่ายของงาน
     - การลำดับงานเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ 
     - การบอกบทก็จะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ

ขั้นตอนการให้แรงเสริม
     - สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
     - วิเคาระห์งาน กำหนดจุดประสงค์ย่อยๆของงานในแต่ละขั้น
     - สอนจากง่ายไปยาก
     - ให้แรงเสริมทันทีเมื่อเด็กทำได้
     - ลดการบอกบท
     - ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่สุด
     - ที่ละขั้นไม่เร่งรัด
     - ไม่ดุหรือตี

การกำหนดเวลา 
     - จำนวนแะความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความเหมาะสม

ความต่อเนื่อง
     - พฤติกรรมในชีวิติประจำวันทุกอย่างต่อเนื่องกับระหว่างพฤติกรรมย่อยๆ
     - เช่น การนอนพักผ่อน
     - สอนแบบก้าวไปข้างหน้า หรือย้อนมาจากข้างหลัง

เด็กตักซุป




     - การจับช้อน
     - การตัก
     - การระวังไม่ให้น้ำในช้อนหกก่อนจะเข้าปาก
     - การเอาช้อนและซุปเข้าปากแทนที่จะทำให้หกรดคาง
     - การเอาซุปออกจากช้อนเข้าสู่ปาก

การลดหรือหยุดแรงเสริม
     - ครูจะงดแรงเสริมกับเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
     - ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
     - เอาอุปกรณ์หรือของเล่นออกไปจากเด็ก
     - เอาเด็กออกจากการเล่น

ความคงเส้นคงวา






ประเมิน
ตนเอง วันนี้หนูเข้าเรียนสาย20 นาทีเนื่องจากหนูท้องเสีย แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน แต่งกายเรียบร้อย
อาจารย์ เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย วันนี้อาจารย์ก็นำความรู้มาให้นักศึกษามากมาย




Thank you